วันจันทร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2559

คาเมลเลีย (Camellia) หรือ “กุหลาบเหมันต์”

Camellia japonica 'Prince Frederick William' is an ornamental Camellia cultivar, believed to have originated from a seedling grown by Silas Sheather at his nursery in Parramatta, Australia. It was first described in the Sheather & Co. Nursery Catalogue in 1872 and is still a most popular camellia in Australia.
 Wikipedia, the free encyclopedia
Camellia japonica 'The Czar' is a camellia cultivar that originated in Australia in 1913.
 Wikipedia, the free encyclopedia
ต้นคาเมลเลีย (Camellia) หรือ “กุหลาบเหมันต์” พันธุ์ญี่ปุ่นนี้ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Camellia japonica เป็นต้นไม้ในตระกูล "ดอกชา" (tea flower) ในเขตหนาว มีถิ่นกำเนิดในเขตเมืองชานตง (山东) ประเทศจีน ถือเป็นดอกไม้มงคลใช้บูชาเทพเจ้าในเทศกาลปีใหม่ของจีน อนุโมทนาบุญกับกัลฯ จันทร์พร เจติยวรรณ ที่ถวายต้นคาเมลเลียหนึ่งคู่มาเป็นไม้พุ่มประดับสวนบริเวณสนามหญ้า
Cr: Wat Phra Dhammakaya Benelux
Cr: Wat Phra Dhammakaya Benelux
Cr: Wat Phra Dhammakaya Benelux
Camellia × williamsii is a cultivar group of hybrid evergreen shrubs that are derived from a crossing of Camellia saluenensis with Camellia japonica.[1] It was originally bred in Cornwall by John Charles Williams.
 Wikipedia, the free encyclopedia
Cr: Wikipedia, the free encyclopedia
 Cr: Wikipedia, the free encyclopedia
 Cr: Wikipedia, the free encyclopedia
Camellia japonica (the Japanese camellia) is one of the best known species of the genus Camellia. Sometimes called the Rose of winter, it belongs to the Theaceae family. It is the official state flower of Alabama. There are thousands of cultivars of C. japonica in cultivation, with many different colors and forms of flowers.

In the wild, it is found in mainland China (Shandong, east Zhejiang), Taiwan, southern Korea and southern Japan. It grows in forests, at altitudes of around 300–1,100 metres (980–3,610 ft)..
 Cr: Wikipedia, the free encyclopedia

วันพุธที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2559

ไม้สักโบราณกว่า 70 ปี

ภาพ http://goo.gl/UKUtgs

ได้รับแจ้งจากชาวบ้านที่อาศัยตำบลแม่วิน ตำบลแม่วิน อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ ว่า ชาวบ้านพบโรงพักเก่าแก่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ขอให้เดินทางมาตรวจสอบ ผู้สื่อข่าวจึงเดินทางไปตรวจสอบข้อเท็จจริง
โดยที่อำเภอแม่วิน ซึ่งอยู่ห่างตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ 60 กิโลเมตร พบโรงพักเก่าแก่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยตัวโรงพักสร้างจากไม้สักทั้งหลัง หลังคามุงด้วยสังกะสี ปัจจุบันยังเป็นที่ทำงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจอยู่

สอบถาม พ.ต.อ.วงศพัทธ์ จำรูญพันธุ์ รักษาราชการแทน ผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรแม่วาง กล่าวว่า โรงพักแห่งนี้ อายุกว่า 70 ปีแล้ว สร้างในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยยังเจ้าหน้าที่ตำรวจยังใช้งานอยู่จนปัจจุบัน

ภาพ http://goo.gl/UKUtgs

“โรงพักดังกล่าวในอดีตคือสถานีตำรวจภูธรตำบลแม่วิน ในอดีตสมัยนั้นการเดินทางเข้าพื้นที่ดังกล่าวเป็นไปด้วยความยากลำบาก ถึงแม้จะอยู่ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่เพียง 60 กิโลเมตร ประกอบกับพื้นที่ตำบลแม่วิน เป็นหนึ่งในเส้นทางเดินทัพของทหารญี่ปุ่นสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่จะเดินทางผ่านจังหวัดแม่ฮ่องสอนไปยังประเทศพม่า นอกจากนี้ พื้นที่ดังกล่าวติดต่อกับอำเภอสะเมิง และอำเภอแม่แจ่ม ซึ่งสมัยหนึ่งมีการเคลื่อนไหวของ ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์หรือผกค. และมีการแพร่ระบาดของยาเสพติด จึงได้ตั้งโรงพักแห่งนี้ขึ้นมาตั้งแต่สมัยนั้น แต่ปัจจุบันแยกอำเภอแม่วาง ออกจากอำเภอสันป่าตอง จึงทำให้สถานีตำรวจภูธรตำบลแม่วิน สมัยนั้นถูกยุบรวมกับสถานีตำรวจภูธรแม่วาง จ.เชียงใหม่ปัจจุบัน แต่เนื่องจากพื้นที่ต.แม่วิน อยู่ห่างจากตัวอำเภอแม่วางนับ 20 กิโลเมตร ทำให้ยังคงโรงพักแห่งนี้ไว้ โดยตั้งเป็นหน่วยบริการประชาชนต.แม่วินจนถึงปัจจุบัน

 พ.พ.อ.วงศพัทธ์ กล่าวอีกว่า ถึงแม้ได้ยุบรวมสถานีตำรวจภูธรตำบลแม่วิน มารวมกับสถานีตำรวจภูธรแม่วาง เมื่อ 15 ปีที่ผ่านมา ทางผู้บังคับบัญชาระดับสูงได้มอบนโยบายอนุรักษ์โรงพักเก่าเอาไว้เนื่องจากยังสามารถใช้การได้

ภาพ http://goo.gl/UKUtgs

 สำหรับโรงพักแม่วินประกอบด้วยตัวอาคารสองชั้น ที่ทำด้วยไม้สักทั้งหลัง บนชั้นสองมีห้องขังและห้องทำงาน ของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ส่วนทางทิศตะวันตกของตัวโรงพัก เป็นบ้านพักของเจ้าหน้าที่ตำรวจสร้างพร้อมกับตัวโรงพักซึ่งอาคารทั้งสองหลัง หลังคามุงด้วยสังกะสีตั้งแต่เริ่มสร้างจนถึงปัจจุบัน หลังจากได้เปลี่ยนจากสถานีตำรวจ มาเป็นหน่วยบริการประชาชนตำบลแม่วิน ซึ่งจะมีเจ้าหน้าที่ตำรวจจากโรงพักแม่วางสลับสับเปลี่ยนหมุนเข้าเวรประจำการตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน

เชียงใหม่พบโรงพักโบราณ สร้างจากไม้สักสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 อายุกว่า 70 ปี
..........
Cr: http://goo.gl/UKUtgs